X

หลักสูตร ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจฯ มทร. สุวรรณภูมิ

คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ดาวน์โหลด
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการตลาดดิจิทัล
สาขาวิชาระบบสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล
สาขาวิชาการจัดการ
สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการทั่วไป
สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการอุตสาหกรรม
สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการสำนักงานสมัยใหม่
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
สาขาวิชาการจัดการ (ต่อเนื่อง)
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (ต่อเนื่อง)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล (ต่อเนื่อง)

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

  • ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการตลาดดิจิทัล (ป.ตรี การตลาดดิจิทัล)
  • ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาระบบสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล (ป.ตรี ระบบสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล)
  • ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการทั่วไป (ป.ตรี การจัดการทั่วไป)
  • ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการอุตสาหกรรม (ป.ตรี การจัดการอุตสาหกรรม)
  • ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการสำนักงานสมัยใหม่ (ป.ตรี การจัดการสำนักงานสมัยใหม่)
  • ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (ป.ตรี การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน)
  • ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการ (ต่อเนื่อง) (ป.ตรี การจัดการ

หลักสูตรบัญชีบัณฑิต

  • หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (ต่อเนื่อง)
  • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล (ต่อเนื่อง) (ป.ตรี เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

  • สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้หรือเทียบเท่า หรือ สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า ทั้งนี้โดยใช้การเทียบโอนผลการเรียนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรีพ.ศ. 2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ภาคผนวก ก)
  • การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา โดยวิธีคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาตามประกาศของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

ระบบการจัดการศึกษา

  • ใช้ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์และอาจจัดให้มีการจัดการศึกษา ภาคฤดูร้อนก็ได้ โดยกำหนดระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิตให้มีสัดส่วนเทียบเคียงได้กับการศึกษาภาคปกติ
  • การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน การจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อนภาคละไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ หรือขึ้นอยู่กับการพิจารณา ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
อ.พิทยุตม์ คงพ่วง: