สมัครเรียน ปริญญาตรี 2568 ค่าเทอม ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ

สมัครเรียน ค่าเทอม 68 04

หลักสูตรปริญญาตรี (ป.ตรี) คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะบริหารธุรกิจฯ มทร.ราชมงคลสุวรรณภูมิ เปิดรับสมัครผู้จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาม.6 หรือเทียบเท่า หรือ ผู้จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ผู้จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับ ระดับปริญญาตรี (ป.ตรี) ใน 5 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาสารสนเทศ โดยมีศูนย์พื้นที่จัดการศึกษา 4 ศูนย์ คือ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา วาสุกรี ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา ศูนย์นนทบุรีและ ศูนย์สุพรรณบุรี

ค่าเทอมของคณะบริหารธุรกิจฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (แบบได้ส่วนลดค่าเทอม 40% ในเทอมที่ 1/2568)

3. ค่าเทอม ระดับ ป.ตรี (ป.ตรี สารสนเทศ, ป.ตรี เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล, ป.ตรี 4 ปี และ ป.ตรี เทียบโอน ปวส)

  • เทอมละ 5575 บาท + ค่าแรกเข้า 2650 บาท

4. ค่าเทอม ระดับ ป.ตรี (ป.ตรี การจัดการ, ป.ตรี การบัญชี, ป.ตรี การตลาด, ป.ตรี การจัดการโลจิสติกส์, ป.ตรี 4 ปี และ ป.ตรี เทียบโอน ปวส)

  • เทอมละ 5075 บาท + ค่าแรกเข้า 2650 บาท

ค่าเทอมของคณะบริหารธุรกิจฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ภาคการศึกษาแรก  (แบบไม่ได้ส่วนลด 40% ในเทอมที่ 1/2568) 

3. ค่าเทอม ระดับ ป.ตรี (ป.ตรี สารสนเทศ, ป.ตรี เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล , ป.ตรี 4 ปี และ ป.ตรี เทียบโอน ปวส)

  • เทอมละ 9900 บาท + ค่าแรกเข้า 2,650 บาท

4. ค่าเทอม ระดับ ป.ตรี (ป.ตรี การจัดการ, ป.ตรี การบัญชี, ป.ตรี การตลาด, ป.ตรี การจัดการโลจิสติกส์ , ป.ตรี 4 ปี และ ป.ตรี เทียบโอน ปวส)

  • เทอมละ 8900 บาท + ค่าแรกเข้า 2,650 บาท

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการทั่วไป (ป.ตรี สาขาวิชาการจัดการทั่วไป)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา ต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา หรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 121 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 85 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการสำนักงาน (ป.ตรี การจัดการสำนักงานสมัยใหม่)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา ต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา หรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 121 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 85 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการอุตสาหกรรม (ป.ตรี การจัดการอุตสาหกรรม)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา ต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา หรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 121 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 85 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาการบัญชี (ป.ตรี การบัญชี)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 130 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 94 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ (ป.ตรี การจัดการโลจิสติกส์)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 130 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 85 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาการตลาด (ป.ตรี การตลาด)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 124 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 88 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสาขาวิชาระบบสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล (ป.ตรี สาขาวิชาระบบสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 124 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 88 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

การจัดการศึกษาของหลักสูตรระดับปริญญาตรี (ป.ตรี)

การจัดการศึกษา ใช้ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ มหาวิทยาลัยอาจจัดให้มีการจัดการศึกษา ภาคฤดูร้อนก็ได้ โดยกำหนดระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิตให้มีสัดส่วนเทียบเคียงได้กับการศึกษา ภาคปกติ

จบ ปวส เรียนต่อ ปริญญาตรี / จบ ปวช เรียนต่อ ปริญญาตรี / จบ ปวส ต่อ ปริญญาตรี เที่ยบโอน 2 ปี / หลักสูตรบัญชี ป.ตรี เทียบโอน 2 ปี จบ / หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์ เทียบโอน / หลักสูตรการตลาดดิจิทัล ป.ตรี/ การจัดการทั่วไป 4 ปี บริหารธุรกิจ/ ราชมงคลสุวรรณภูมิ