สมัครเรียน ปริญญาตรี 2567 ม.ราชมงคลสุวรรณภูมิ

หลักสูตรปริญญาตรี (ป.ตรี) คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะบริหารธุรกิจฯ มทร.ราชมงคลสุวรรณภูมิ เปิดรับสมัครผู้จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาม.6 หรือเทียบเท่า หรือ ผู้จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ผู้จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับ ระดับปริญญาตรี (ป.ตรี) ใน 5 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาสารสนเทศ โดยมีศูนย์พื้นที่จัดการศึกษา 4 ศูนย์ คือ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา วาสุกรี ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา ศูนย์นนทบุรีและ ศูนย์สุพรรณบุรี

ค่าเทอมปกติของหลักสูตร ระดับปริญญาตรี (ป.ตรี) 

  1. ระดับปริญาตรี สาขาวิชาการจัดการทั่วไป สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาการตลาดดิจิทัล และสาขาวิชาการบัญชี มีค่าบำรุงการศึกษาเทอมละ 8,700 บาท (อัตราเหมาจ่ายทุกเทอมเท่ากัน) โดยมีค่าแรกเข้าสำหรับนักศึกษาใหม่ 2,650 บาท รวม 11,350 บาท
  2. ระดับปริญาตรี สาขาวิชาสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล และ ปริญาตรี สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล มีค่าบำรุงการศึกษาเทอมละ 9,700 บาท (อัตราเหมาจ่ายทุกเทอมเท่ากัน) โดยมีค่าแรกเข้าสำหรับนักศึกษาใหม่ 2,650 บาท

สิทธิ์ลดค่าเทอมเทอมแรก 50% สำหรับ ปีการศึกษา 2567

  • ผู้สมัครเรียน ระดับ ปริญาตรี ระหว่างวันที่ 1 กย 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2567 จะได้รับ ลดค่าเทอมเทอมแรก 50%
  • ระดับปริญาตรี สาขาวิชาการจัดการทั่วไป สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาการตลาดดิจิทัล และสาขาวิชาการบัญชี มีค่าบำรุงการศึกษาเทอมมีค่าบำรุงการศึกษาเทอมแรก รวม 7,525 บาท สำหรับเทอมแรก และ 8,700 บาท สำหรับเทอมต่อๆไป
  • ระดับปริญาตรี สาขาวิชาสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล และ ปริญาตรี สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล มีค่าบำรุงการศึกษาเทอมมีค่าบำรุงการศึกษาเทอมแรก รวม 8,025 บาท สำหรับเทอมแรก และ 8,700 บาท สำหรับเทอมต่อๆไป

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการทั่วไป (ป.ตรี สาขาวิชาการจัดการทั่วไป)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา ต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา หรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 121 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 85 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการสำนักงาน (ป.ตรี การจัดการสำนักงานสมัยใหม่)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา ต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา หรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 121 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 85 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการอุตสาหกรรม (ป.ตรี การจัดการอุตสาหกรรม)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา ต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา หรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 121 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 85 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาการบัญชี (ป.ตรี การบัญชี)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 130 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 94 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ (ป.ตรี การจัดการโลจิสติกส์)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 130 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 85 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาการตลาด (ป.ตรี การตลาด)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 124 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 88 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสาขาวิชาระบบสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล (ป.ตรี สาขาวิชาระบบสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า โดยมีจำนวนหน่วยกิตรวม 124 หน่วยกิต แบ่งเป็น หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ 88 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

การจัดการศึกษาของหลักสูตรระดับปริญญาตรี (ป.ตรี)

การจัดการศึกษา ใช้ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ มหาวิทยาลัยอาจจัดให้มีการจัดการศึกษา ภาคฤดูร้อนก็ได้ โดยกำหนดระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิตให้มีสัดส่วนเทียบเคียงได้กับการศึกษา ภาคปกติ

จบ ปวส เรียนต่อ ปริญญาตรี / จบ ปวช เรียนต่อ ปริญญาตรี / จบ ปวส ต่อ ปริญญาตรี เที่ยบโอน 2 ปี / หลักสูตรบัญชี ป.ตรี เทียบโอน 2 ปี จบ / หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์ เทียบโอน / หลักสูตรการตลาดดิจิทัล ป.ตรี/ การจัดการทั่วไป 4 ปี บริหารธุรกิจ/ ราชมงคลสุวรรณภูมิ